บริการกำจัดปลวกและแมลง ปลอดภัย ได้ผลจริง โดยผู้เชี่ยวชาญ
บริการกำจัดนกจากซานิโปร (ประเทศไทย) จำกัด หากคุณกำลังมองหา บริการกำจัดปลวก และ ฉีดปลวก ที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัย เราคือ บริษัทกำจัดปลวก ที่ให้บริการครอบคลุมทั้งบ้านพักอาศัย อาคารสำนักงาน โรงงาน และสถานประกอบการต่าง ๆ ด้วยเทคนิคที่ทันสมัยและทีมงานผู้เชี่ยวชาญ เราช่วยให้คุณหมดกังวลเรื่องปัญหา ปลวก และ แมลงรบกวน ได้อย่างถาวร
บริการของเรา
กำจัดปลวกและแมลงแบบครบวงจร
บริการกำจัดปลวกแบบครบวงจร
ปลวก เป็นศัตรูเงียบที่สามารถสร้างความเสียหายให้กับโครงสร้างอาคารและเฟอร์นิเจอร์ไม้ได้ภายในระยะเวลาอันสั้น หากไม่ได้รับการป้องกัน ปลวกสามารถแพร่กระจายและกัดกินวัสดุไม้จนทำให้โครงสร้างอาคารเกิดความเสียหายร้ายแรง
วิธีกำจัดปลวกของเรา
การฉีดน้ำยากำจัดปลวกลงไปในดินรอบบริเวณอาคารหรือจุดที่พบปลวก เพื่อสร้างแนวป้องกันและกำจัดปลวกที่อาศัยอยู่ใต้ดิน เหมาะสำหรับทั้งบ้านพักอาศัยและอาคารขนาดใหญ่
เป็นวิธีป้องกันปลวกสำหรับบ้านหรืออาคารที่กำลังก่อสร้าง โดยติดตั้งท่อส่งน้ำยาไว้ใต้พื้นหรือรอบตัวอาคาร ทำให้สามารถฉีดน้ำยากำจัดปลวกเข้าไปตามท่อได้โดยไม่ต้องเจาะพื้นภายหลัง
ใช้เหยื่อล่อที่เป็นสารออกฤทธิ์เพื่อให้ปลวกนำกลับไปที่รัง เมื่อปลวกตัวอื่นๆ กินสารเข้าไปก็จะตายยกรัง วิธีนี้มีความปลอดภัยสูงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ใช้การสำรวจพื้นที่ วิเคราะห์ระดับความรุนแรงของปัญหา และเลือกวิธีการกำจัดปลวกที่เหมาะสมที่สุด
ให้คำปรึกษา สำรวจพื้นที่ฟรี !!!
ได้รับการไว้วางใจ จากลูกค้าองค์กรและลูกค้าบ้าน
ผ่านประสบการณ์การกำจัดแมลงนับพันครั้ง
บริการกำจัดแมลง – ควบคุมและกำจัดแมลงรบกวนทุกชนิด
แมลง เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขอนามัยและคุณภาพชีวิต ไม่ว่าจะเป็นในบ้าน ร้านอาหาร หรือโรงงานอุตสาหกรรม แมลงบางชนิดยังเป็นพาหะนำโรคร้ายแรง เช่น อาหารเป็นพิษ โรคไข้เลือดออก และโรคภูมิแพ้
วิธีกำจัดแมลงของเรา
แมลงสาบเป็นพาหะนำโรคที่พบได้ทั่วไป เราใช้วิธีพ่นน้ำยา กำจัดแมลงสาบด้วยเหยื่อเจล และติดตั้งกับดัก เพื่อป้องกันการแพร่พันธุ์
ใช้วิธีฉีดพ่นน้ำยา และใช้เหยื่อล่อมดที่ออกฤทธิ์ให้มดนำกลับไปที่รัง เพื่อกำจัดทั้งรังและป้องกันการระบาดซ้ำ
หนูสามารถสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สิน และเป็นพาหะนำโรคร้ายแรง เช่น โรคฉี่หนู เราใช้ทั้งกับดักหนู เหยื่อพิษ และวิธีการป้องกันการเข้าถึงพื้นที่ของหนู
ใช้วิธีพ่นหมอกควัน (Fogging) และละอองฝอย (ULV) เพื่อกำจัดยุงและแมลงบินที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย
บริการกำจัดแมลง – ควบคุมและกำจัดแมลงรบกวนทุกชนิด
แมลง เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขอนามัยและคุณภาพชีวิต ไม่ว่าจะเป็นในบ้าน ร้านอาหาร หรือโรงงานอุตสาหกรรม แมลงบางชนิดยังเป็นพาหะนำโรคร้ายแรง เช่น อาหารเป็นพิษ โรคไข้เลือดออก และโรคภูมิแพ้
วิธีกำจัดแมลงของเรา
แมลงสาบเป็นพาหะนำโรคที่พบได้ทั่วไป เราใช้วิธีพ่นน้ำยา กำจัดแมลงสาบด้วยเหยื่อเจล และติดตั้งกับดัก เพื่อป้องกันการแพร่พันธุ์
ใช้วิธีฉีดพ่นน้ำยา และใช้เหยื่อล่อมดที่ออกฤทธิ์ให้มดนำกลับไปที่รัง เพื่อกำจัดทั้งรังและป้องกันการระบาดซ้ำ
หนูสามารถสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สิน และเป็นพาหะนำโรคร้ายแรง เช่น โรคฉี่หนู เราใช้ทั้งกับดักหนู เหยื่อพิษ และวิธีการป้องกันการเข้าถึงพื้นที่ของหนู
ใช้วิธีพ่นหมอกควัน (Fogging) และละอองฝอย (ULV) เพื่อกำจัดยุงและแมลงบินที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย
แมลงและสัตว์รบกวน ที่พบมากในประเทศไทย
มดละเอียด
(Pharaoh’s Ant)
มดเหม็น
(Ghost ant)
มดรำคาญขายาว
(Black crazy ant)
มดดำ
(Black House Ant)
ข้อมูลทั่วไป
มดเป็นแมลงสังคม มีการแบ่งวรรณะและหน้าที่ภายในรังอย่างชัดเจน ประกอบด้วย วรรณะสืบพันธุ์ วรรณะทหาร และวรรณะงาน มดสามารถเข้ามาอยู่อาศัยภายในบ้านและอาคารได้ โดยจะอยู่ในที่อบอุ่น เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า ปลั๊กไฟ ตู้ไฟ และบริเวณโต๊ะอาหาร โดยอาหารหลักของมดทุกชนิดคือโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และนํ้าตาล
ความเสียหายจากมด
1.สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. มดบางชนิดมีพิษ สามารถกัดหรือต่อย ทำให้เกิดการระคายเคืองผิว
3. ปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ซ่อมแซมจุดชำรุดที่มดสามารถเข้าไปทำรังได้
3. ดูแลความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
4. วางเจลกำจัดมดในแหล่งที่พบมด
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นภายนอกอาคาร
แมลงสาบอเมริกัน
(American Cockroach)
แมลงสาบเยอรมัน
(German Cockroach)
แมลงสาบออสเตรเลีย
(Australian Cockroach)
แมลงสาบลายน้ำตาล
(Brown Banded Cockroach)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิตของแมลงสาบมี 3 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน และระยะตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 1-3 ปี แมลงสาบชอบอยู่เป็นกลุ่ม ตามซอกมุมภายในบ้าน นอกบ้าน ท่อน้ำทิ้ง ตามซอกมุมที่อับชื้น ที่การทำความสะอาดเข้าไม่ถึง ไม่ชอบแสงสว่าง มักไม่ค่อยพบแมลงสาบในเวลากลางวัน เพราะแมลงสาบส่วนใหญ่จะออกหาอาหารในเวลากลางคืน แมลงสาบสามารถกินอาหารได้หลากหลาย
ร่องรอยการระบาดของแมลงสาบ
1. มูล
2. ฝักไข่
3. รอยกัดกิน
4. กลิ่น
5. ตัวแมลงสาบ
ความเสียหายจากแมลงสาบ
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. สามารถนำเชื้อโรคมาสู่มนุษย์
4. กลิ่นตัวแมลงสาบสามารถก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ดูแลความสะอาดของพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
3. ติดตั้งกับดักแมลงคลานเพื่อดักจับแมลงสาบ
4. ใช้เจลกำจัดแมลงสาบในพื้นที่จุดเสี่ยง
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดแมลงสาบ
แมลงวันบ้าน
(House fly)
แมลงวันหัวเขียว
(Blow fly)
แมลงวันหลังลาย
(Flesh fly)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิต มี 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน ระยะดักแด้ และระยะตัวเต็มวัย โดยสามารถพบได้ทั่วไปตามอาคารบ้านเรือน แหล่งที่อยู่อาศัยตามกองขยะ มูลสัตว์ ซากสัตว์ และเศษอาหารต่างๆ แมลงวันสามารถกินอาหารของคนได้ทุกชนิด ส่วนมากจะชอบกินน้ำตาล คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน
ความเสียหายจากแมลงวัน
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. สามารถนำเชื้อโรคมาสู่มนุษย์ เช่น ท้องร่วง อาหารเป็นพิษ
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ดูแลความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
3. ติดตั้งกับดักแมลงบินเพื่อดักจับตัวเต็มวัย
4. ใช้กับดักฟีโรโมนดักจับตัวเต็มวัย
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดแมลงวัน
ยุงลาย
(Aedes Mosquitoes)
ยุงก้นปล่อง
(Anopheles Mosquito)
ยุงรำคาญ
(Culex Mosquito)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิต มี 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน (ลูกน้ำ) ระยะดักแด้ (ตัวโม่ง) และระยะตัวเต็มวัย โดยในระยะไข่จนถึงระยะดักแด้จะมีการเจริญการเติบโตในน้ำ ซึ่งยุงแต่ละชนิดจะเจริญเติบโดในแหล่งน้ำที่แตกต่างกัน เช่น น้ำขัง น้ำเสีย น้ำสะอาด เป็นต้น ยุงเพศเมียเท่านั้นที่จะดูดเลือดคนและสัตว์เพื่อนำโปรตีนจากเลือดไปสร้างไข่
ความเสียหายจากยุง
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. เป็นพาหะนำโรคมาสู่มนุษย์ เช่น ไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา ไข้ซิกา ไข้มาลาเรีย เป็นต้น
4. น้ำลายยุงอาจก่อให้เกิดการระคายเคืองและผื่นคันได้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์
2. ติดตั้งกับดักแมลงบินเพื่อดักจับตัวเต็มวัย
3. ใช้สารเคมียับยั้งการลอกคราบในระยะตัวอ่อน
4. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดตัวเต็มวัย
ผีเสื้อข้าวสาร
(Rice moth)
ผีเสื้อกลางคืน
(Indian meal moth)
มอดแป้ง
(Red flour beetle)
มอดหัวป้อม
(Lesser grain beetle)
มอดฟันเลื่อย
(saw-toothed grain beetle)
ด้วงเขาสัตว์
(Skin beetle)
มอดหนวดยาว
(Flat grain beetle)
ด้วงงวงข้าว
(Rice weevil)
มอดยาสูบ
(Tobacco beetle)
ข้อมูลทั่วไป
แมลงศัตรูโรงเก็บสามารถเข้าทำลายและปนเปื้อนในวัตถุดิบ เช่น ข้าว ข้าวโพด ธัญพืช แป้ง ยาสูบ ผลไม้แห้ง อาหารแห้ง เป็นต้น แมลงศัตรูโรงเก็บจะเข้าทำลายวัตถุดิบโดยการกัดกิน แทะเล็ม เจาะรู และถักใยติดกันเป็นก้อน
ความเสียหายจากแมลงศัตรูโรงเก็บ
1. ก่อให้เกิดความเสียหายของวัตถุดิบ เช่น วัตถุดิบสูญเสียน้ำหนักและสูญเสียคุณภาพ
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในวัตถุดิบ
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ทำความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอ
3. เก็บรักษาวัตถุดิบให้มิดชิด
4. ใช้กับดักฟีโรโมนกำจัดตัวอ่อนและตัวเต็มวัย
5. ป้องกันกำจัดโดยใช้วิธีการรมยา
ปลวกสายพันธุ์ Coptotermes
ข้อมูลทั่วไป
ปลวกเป็นแมลงสังคมอยู่อาศัยรวมกันเป็นกลุ่ม มีการแบ่งออกเป็น 3 วรรณะ มีรูปร่างและหน้าที่ต่างกันชัดเจนคือ
– วรรณะปลวกงาน ทำหน้าที่หาอาหารและสร้างรัง
– วรรณะทหาร ทำหน้าที่ปกป้องรัง
– วรรณะสืบพันธุ์ (ปลวกราชา ปลวกราชินี แมลงเม่า) ทำหน้าที่สืบพันธุ์และวางไข่
วงจรชีวิตของปลวกราชินีจะมีอายุ 1-2 ปี ปลวกงานมีอายุ 2-3 เดือน ปลวกอาศัยอยู่บริเวณที่มีแหล่งอาหารและความชื้นที่เหมาะสม ปลวกส่วนใหญ่จะกินอาหารประเภทเนื้อไม้ เปลือกไม้ เศษไม้ ใบไม้ หรือวัสดุ อื่นๆ ที่มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบ
ความเสียหายจากปลวก
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. สร้างความเสียหายให้กับอาคาร บ้านเรือน และเฟอนิเจอร์ต่างๆ
3. ปนเปื้อนในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ใช้กับดักเหยื่อล่อในกำจัดปลวก
3. ใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดปลวก
จิ้งจก Gecko
ข้อมูลทั่วไป
จิ้งจกเป็นสัตว์เลื่อยคลานที่มีลำตัวขนาดเล็ก สามารถพบได้ตามที่อยู่อาศัย บ้านเรือน และอาคาร มักอยู่ตามซอกมุมต่างๆในที่มืดและสงบ จิ้งจกมักกินแมลงและเศษอาหารต่างๆ
ความเสียหายจากจิ้งจก
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ปนเปื้อนในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
3. มูลจิ้งจกทำให้พื้นที่สกปรก
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ทำความสะอาดพื้นที่ไม่ให้มีแหล่งอาหาร
3. ใช้กับดักแมลงคลานดักจับจิ้งจก
4. ใช้สารเคมีฉีดพ่นไล่จิ้งจก
หนูนอร์เวย์
(Rattus Norvegicus)
หนูท้องขาว
(Rattus rattus)
หนูหริ่ง
(Mus musculus)
หนูจี๊ด
(Rattus exulans)
ข้อมูลทั่วไป
หนูมีวงจรชีวิตประมาณ 2 ปี ให้ลูกได้ตลอดทั้งชีวิต 6-10 ครอก หนูสามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้ดี สามารถกระโดดปีนป่ายได้อย่างคล่องแคล่ว ชอบอาศัยอยู่ในพื้นที่มืดและเงียบ ฟันของหนูแข็งแรงสามารถแทะเหล็กได้ หนูมักจะอาศัยในบริเวณใกล้บ้านพักอาศัยตามบ้านเรือน หรือขุดรูใต้ดิน อาศัยตามซอกมุมที่ลับตาของอาคาร บนเพดาน หนูสามารถกินอาหารได้หลากหลายชนิด
ร่องรอยของหนู
1. มูลและปัสสาวะ
2. รอยกัดแทะ รอยเท้า รอยทางเดิน
3. เสียงร้องของหนู
ความเสียหาย
1. สร้างความรำคาญและทำให้พื้นที่สกปรก
2. กัดแทะผลิตภัณฑ์ทำให้เกิดความเสียหาย
3. หนูเป็นพาหะนำโรคมาสู่มนุษย์ เช่น โรคฉี่หนู
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาร่องรอยการบุกรุกของหนู
2. ทำความสะอาดพื้นที่และจัดของให้เป็นระเบียบ
3. ใช้กับดักกาวหนูเพื่อดักจับหนู
4. ใช้เหยื่อพิษกำจัดหนูนอกรอบอาคาร
มดละเอียด
(Pharaoh’s Ant)
มดเหม็น
(Ghost ant)
มดรำคาญขายาว
(Black crazy ant)
มดดำ
(Black House Ant)
ข้อมูลทั่วไป
มดเป็นแมลงสังคม มีการแบ่งวรรณะและหน้าที่ภายในรังอย่างชัดเจน ประกอบด้วย วรรณะสืบพันธุ์ วรรณะทหาร และวรรณะงาน มดสามารถเข้ามาอยู่อาศัยภายในบ้านและอาคารได้ โดยจะอยู่ในที่อบอุ่น เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า ปลั๊กไฟ ตู้ไฟ และบริเวณโต๊ะอาหาร โดยอาหารหลักของมดทุกชนิดคือโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และนํ้าตาล
ความเสียหายจากมด
1.สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. มดบางชนิดมีพิษ สามารถกัดหรือต่อย ทำให้เกิดการระคายเคืองผิว
3. ปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ซ่อมแซมจุดชำรุดที่มดสามารถเข้าไปทำรังได้
3. ดูแลความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
4. วางเจลกำจัดมดในแหล่งที่พบมด
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นภายนอกอาคาร
แมลงสาบอเมริกัน
(American Cockroach)
แมลงสาบเยอรมัน
(German Cockroach)
แมลงสาบออสเตรเลีย
(Australian Cockroach)
แมลงสาบลายน้ำตาล
(Brown Banded Cockroach)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิตของแมลงสาบมี 3 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน และระยะตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 1-3 ปี แมลงสาบชอบอยู่เป็นกลุ่ม ตามซอกมุมภายในบ้าน นอกบ้าน ท่อน้ำทิ้ง ตามซอกมุมที่อับชื้น ที่การทำความสะอาดเข้าไม่ถึง ไม่ชอบแสงสว่าง มักไม่ค่อยพบแมลงสาบในเวลากลางวัน เพราะแมลงสาบส่วนใหญ่จะออกหาอาหารในเวลากลางคืน แมลงสาบสามารถกินอาหารได้หลากหลาย
ร่องรอยการระบาดของแมลงสาบ
1. มูล
2. ฝักไข่
3. รอยกัดกิน
4. กลิ่น
5. ตัวแมลงสาบ
ความเสียหายจากแมลงสาบ
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. สามารถนำเชื้อโรคมาสู่มนุษย์
4. กลิ่นตัวแมลงสาบสามารถก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ดูแลความสะอาดของพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
3. ติดตั้งกับดักแมลงคลานเพื่อดักจับแมลงสาบ
4. ใช้เจลกำจัดแมลงสาบในพื้นที่จุดเสี่ยง
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดแมลงสาบ
แมลงวันบ้าน
(House fly)
แมลงวันหัวเขียว
(Blow fly)
แมลงวันหลังลาย
(Flesh fly)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิต มี 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน ระยะดักแด้ และระยะตัวเต็มวัย โดยสามารถพบได้ทั่วไปตามอาคารบ้านเรือน แหล่งที่อยู่อาศัยตามกองขยะ มูลสัตว์ ซากสัตว์ และเศษอาหารต่างๆ แมลงวันสามารถกินอาหารของคนได้ทุกชนิด ส่วนมากจะชอบกินน้ำตาล คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน
ความเสียหายจากแมลงวัน
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. สามารถนำเชื้อโรคมาสู่มนุษย์ เช่น ท้องร่วง อาหารเป็นพิษ
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ดูแลความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
3. ติดตั้งกับดักแมลงบินเพื่อดักจับตัวเต็มวัย
4. ใช้กับดักฟีโรโมนดักจับตัวเต็มวัย
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดแมลงวัน
ยุงลาย
(Aedes Mosquitoes)
ยุงก้นปล่อง
(Anopheles Mosquito)
ยุงรำคาญ
(Culex Mosquito)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิต มี 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน (ลูกน้ำ) ระยะดักแด้ (ตัวโม่ง) และระยะตัวเต็มวัย โดยในระยะไข่จนถึงระยะดักแด้จะมีการเจริญการเติบโตในน้ำ ซึ่งยุงแต่ละชนิดจะเจริญเติบโดในแหล่งน้ำที่แตกต่างกัน เช่น น้ำขัง น้ำเสีย น้ำสะอาด เป็นต้น ยุงเพศเมียเท่านั้นที่จะดูดเลือดคนและสัตว์เพื่อนำโปรตีนจากเลือดไปสร้างไข่
ความเสียหายจากยุง
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. เป็นพาหะนำโรคมาสู่มนุษย์ เช่น ไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา ไข้ซิกา ไข้มาลาเรีย เป็นต้น
4. น้ำลายยุงอาจก่อให้เกิดการระคายเคืองและผื่นคันได้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์
2. ติดตั้งกับดักแมลงบินเพื่อดักจับตัวเต็มวัย
3. ใช้สารเคมียับยั้งการลอกคราบในระยะตัวอ่อน
4. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดตัวเต็มวัย
ผีเสื้อข้าวสาร
(Rice moth)
ผีเสื้อกลางคืน
(Indian meal moth)
มอดแป้ง
(Red flour beetle)
มอดหัวป้อม
(Lesser grain beetle)
มอดฟันเลื่อย
(saw-toothed grain beetle)
ด้วงเขาสัตว์
(Skin beetle)
มอดหนวดยาว
(Flat grain beetle)
ด้วงงวงข้าว
(Rice weevil)
มอดยาสูบ
(Tobacco beetle)
ข้อมูลทั่วไป
แมลงศัตรูโรงเก็บสามารถเข้าทำลายและปนเปื้อนในวัตถุดิบ เช่น ข้าว ข้าวโพด ธัญพืช แป้ง ยาสูบ ผลไม้แห้ง อาหารแห้ง เป็นต้น แมลงศัตรูโรงเก็บจะเข้าทำลายวัตถุดิบโดยการกัดกิน แทะเล็ม เจาะรู และถักใยติดกันเป็นก้อน
ความเสียหายจากแมลงศัตรูโรงเก็บ
1. ก่อให้เกิดความเสียหายของวัตถุดิบ เช่น วัตถุดิบสูญเสียน้ำหนักและสูญเสียคุณภาพ
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในวัตถุดิบ
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ทำความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอ
3. เก็บรักษาวัตถุดิบให้มิดชิด
4. ใช้กับดักฟีโรโมนกำจัดตัวอ่อนและตัวเต็มวัย
5. ป้องกันกำจัดโดยใช้วิธีการรมยา
ปลวกสายพันธุ์ Coptotermes
ข้อมูลทั่วไป
ปลวกเป็นแมลงสังคมอยู่อาศัยรวมกันเป็นกลุ่ม มีการแบ่งออกเป็น 3 วรรณะ มีรูปร่างและหน้าที่ต่างกันชัดเจนคือ
– วรรณะปลวกงาน ทำหน้าที่หาอาหารและสร้างรัง
– วรรณะทหาร ทำหน้าที่ปกป้องรัง
– วรรณะสืบพันธุ์ (ปลวกราชา ปลวกราชินี แมลงเม่า) ทำหน้าที่สืบพันธุ์และวางไข่
วงจรชีวิตของปลวกราชินีจะมีอายุ 1-2 ปี ปลวกงานมีอายุ 2-3 เดือน ปลวกอาศัยอยู่บริเวณที่มีแหล่งอาหารและความชื้นที่เหมาะสม ปลวกส่วนใหญ่จะกินอาหารประเภทเนื้อไม้ เปลือกไม้ เศษไม้ ใบไม้ หรือวัสดุ อื่นๆ ที่มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบ
ความเสียหายจากปลวก
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. สร้างความเสียหายให้กับอาคาร บ้านเรือน และเฟอนิเจอร์ต่างๆ
3. ปนเปื้อนในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ใช้กับดักเหยื่อล่อในกำจัดปลวก
3. ใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดปลวก
จิ้งจก Gecko
ข้อมูลทั่วไป
จิ้งจกเป็นสัตว์เลื่อยคลานที่มีลำตัวขนาดเล็ก สามารถพบได้ตามที่อยู่อาศัย บ้านเรือน และอาคาร มักอยู่ตามซอกมุมต่างๆในที่มืดและสงบ จิ้งจกมักกินแมลงและเศษอาหารต่างๆ
ความเสียหายจากจิ้งจก
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ปนเปื้อนในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
3. มูลจิ้งจกทำให้พื้นที่สกปรก
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ทำความสะอาดพื้นที่ไม่ให้มีแหล่งอาหาร
3. ใช้กับดักแมลงคลานดักจับจิ้งจก
4. ใช้สารเคมีฉีดพ่นไล่จิ้งจก
หนูนอร์เวย์
(Rattus Norvegicus)
หนูท้องขาว
(Rattus rattus)
หนูหริ่ง
(Mus musculus)
หนูจี๊ด
(Rattus exulans)
ข้อมูลทั่วไป
หนูมีวงจรชีวิตประมาณ 2 ปี ให้ลูกได้ตลอดทั้งชีวิต 6-10 ครอก หนูสามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้ดี สามารถกระโดดปีนป่ายได้อย่างคล่องแคล่ว ชอบอาศัยอยู่ในพื้นที่มืดและเงียบ ฟันของหนูแข็งแรงสามารถแทะเหล็กได้ หนูมักจะอาศัยในบริเวณใกล้บ้านพักอาศัยตามบ้านเรือน หรือขุดรูใต้ดิน อาศัยตามซอกมุมที่ลับตาของอาคาร บนเพดาน หนูสามารถกินอาหารได้หลากหลายชนิด
ร่องรอยของหนู
1. มูลและปัสสาวะ
2. รอยกัดแทะ รอยเท้า รอยทางเดิน
3. เสียงร้องของหนู
ความเสียหาย
1. สร้างความรำคาญและทำให้พื้นที่สกปรก
2. กัดแทะผลิตภัณฑ์ทำให้เกิดความเสียหาย
3. หนูเป็นพาหะนำโรคมาสู่มนุษย์ เช่น โรคฉี่หนู
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาร่องรอยการบุกรุกของหนู
2. ทำความสะอาดพื้นที่และจัดของให้เป็นระเบียบ
3. ใช้กับดักกาวหนูเพื่อดักจับหนู
4. ใช้เหยื่อพิษกำจัดหนูนอกรอบอาคาร
มดละเอียด
(Pharaoh’s Ant)
มดเหม็น
(Ghost ant)
มดรำคาญขายาว
(Black crazy ant)
มดดำ
(Black House Ant)
ข้อมูลทั่วไป
มดเป็นแมลงสังคม มีการแบ่งวรรณะและหน้าที่ภายในรังอย่างชัดเจน ประกอบด้วย วรรณะสืบพันธุ์ วรรณะทหาร และวรรณะงาน มดสามารถเข้ามาอยู่อาศัยภายในบ้านและอาคารได้ โดยจะอยู่ในที่อบอุ่น เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า ปลั๊กไฟ ตู้ไฟ และบริเวณโต๊ะอาหาร โดยอาหารหลักของมดทุกชนิดคือโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และนํ้าตาล
ความเสียหายจากมด
1.สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. มดบางชนิดมีพิษ สามารถกัดหรือต่อย ทำให้เกิดการระคายเคืองผิว
3. ปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ซ่อมแซมจุดชำรุดที่มดสามารถเข้าไปทำรังได้
3. ดูแลความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
4. วางเจลกำจัดมดในแหล่งที่พบมด
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นภายนอกอาคาร
แมลงสาบอเมริกัน
(American Cockroach)
แมลงสาบเยอรมัน
(German Cockroach)
แมลงสาบออสเตรเลีย
(Australian Cockroach)
แมลงสาบลายน้ำตาล
(Brown Banded Cockroach)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิตของแมลงสาบมี 3 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน และระยะตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 1-3 ปี แมลงสาบชอบอยู่เป็นกลุ่ม ตามซอกมุมภายในบ้าน นอกบ้าน ท่อน้ำทิ้ง ตามซอกมุมที่อับชื้น ที่การทำความสะอาดเข้าไม่ถึง ไม่ชอบแสงสว่าง มักไม่ค่อยพบแมลงสาบในเวลากลางวัน เพราะแมลงสาบส่วนใหญ่จะออกหาอาหารในเวลากลางคืน แมลงสาบสามารถกินอาหารได้หลากหลาย
ร่องรอยการระบาดของแมลงสาบ
1. มูล
2. ฝักไข่
3. รอยกัดกิน
4. กลิ่น
5. ตัวแมลงสาบ
ความเสียหายจากแมลงสาบ
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. สามารถนำเชื้อโรคมาสู่มนุษย์
4. กลิ่นตัวแมลงสาบสามารถก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ดูแลความสะอาดของพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
3. ติดตั้งกับดักแมลงคลานเพื่อดักจับแมลงสาบ
4. ใช้เจลกำจัดแมลงสาบในพื้นที่จุดเสี่ยง
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดแมลงสาบ
แมลงวันบ้าน
(House fly)
แมลงวันหัวเขียว
(Blow fly)
แมลงวันหลังลาย
(Flesh fly)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิต มี 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน ระยะดักแด้ และระยะตัวเต็มวัย โดยสามารถพบได้ทั่วไปตามอาคารบ้านเรือน แหล่งที่อยู่อาศัยตามกองขยะ มูลสัตว์ ซากสัตว์ และเศษอาหารต่างๆ แมลงวันสามารถกินอาหารของคนได้ทุกชนิด ส่วนมากจะชอบกินน้ำตาล คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน
ความเสียหายจากแมลงวัน
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. สามารถนำเชื้อโรคมาสู่มนุษย์ เช่น ท้องร่วง อาหารเป็นพิษ
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และหาแหล่งเพาะพันธุ์
2. ดูแลความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอเพื่อลดแหล่งอาหาร
3. ติดตั้งกับดักแมลงบินเพื่อดักจับตัวเต็มวัย
4. ใช้กับดักฟีโรโมนดักจับตัวเต็มวัย
5. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดแมลงวัน
ยุงลาย
(Aedes Mosquitoes)
ยุงก้นปล่อง
(Anopheles Mosquito)
ยุงรำคาญ
(Culex Mosquito)
ข้อมูลทั่วไป
วงจรชีวิต มี 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน (ลูกน้ำ) ระยะดักแด้ (ตัวโม่ง) และระยะตัวเต็มวัย โดยในระยะไข่จนถึงระยะดักแด้จะมีการเจริญการเติบโตในน้ำ ซึ่งยุงแต่ละชนิดจะเจริญเติบโดในแหล่งน้ำที่แตกต่างกัน เช่น น้ำขัง น้ำเสีย น้ำสะอาด เป็นต้น ยุงเพศเมียเท่านั้นที่จะดูดเลือดคนและสัตว์เพื่อนำโปรตีนจากเลือดไปสร้างไข่
ความเสียหายจากยุง
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารและผลิตภัณฑ์ได้
3. เป็นพาหะนำโรคมาสู่มนุษย์ เช่น ไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา ไข้ซิกา ไข้มาลาเรีย เป็นต้น
4. น้ำลายยุงอาจก่อให้เกิดการระคายเคืองและผื่นคันได้
วิธีป้องกันกำจัดโดยผู้เชี่ยวชาญ
1. สำรวจพื้นที่และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์
2. ติดตั้งกับดักแมลงบินเพื่อดักจับตัวเต็มวัย
3. ใช้สารเคมียับยั้งการลอกคราบในระยะตัวอ่อน
4. ใช้สารเคมีฉีดพ่นกำจัดตัวเต็มวัย
ผีเสื้อข้าวสาร
(Rice moth)
ผีเสื้อกลางคืน
(Indian meal moth)
มอดแป้ง
(Red flour beetle)
มอดหัวป้อม
(Lesser grain beetle)
มอดฟันเลื่อย
(saw-toothed grain beetle)
ด้วงเขาสัตว์
(Skin beetle)
มอดหนวดยาว
(Flat grain beetle)
ด้วงงวงข้าว
(Rice weevil)
มอดยาสูบ
(Tobacco beetle)
ข้อมูลทั่วไป
แมลงศัตรูโรงเก็บสามารถเข้าทำลายและปนเปื้อนในวัตถุดิบ เช่น ข้าว ข้าวโพด ธัญพืช แป้ง ยาสูบ ผลไม้แห้ง อาหารแห้ง เป็นต้น แมลงศัตรูโรงเก็บจะเข้าทำลายวัตถุดิบโดยการกัดกิน แทะเล็ม เจาะรู และถักใยติดกันเป็นก้อน
ความเสียหายจากแมลงศัตรูโรงเก็บ
1. ก่อให้เกิดความเสียหายของวัตถุดิบ เช่น วัตถุดิบสูญเสียน้ำหนักและสูญเสียคุณภาพ
2. ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในวัตถุดิบ
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ทำความสะอาดพื้นที่อยู่เสมอ
3. เก็บรักษาวัตถุดิบให้มิดชิด
4. ใช้กับดักฟีโรโมนกำจัดตัวอ่อนและตัวเต็มวัย
5. ป้องกันกำจัดโดยใช้วิธีการรมยา
ปลวกสายพันธุ์ Coptotermes
ข้อมูลทั่วไป
ปลวกเป็นแมลงสังคมอยู่อาศัยรวมกันเป็นกลุ่ม มีการแบ่งออกเป็น 3 วรรณะ มีรูปร่างและหน้าที่ต่างกันชัดเจนคือ
– วรรณะปลวกงาน ทำหน้าที่หาอาหารและสร้างรัง
– วรรณะทหาร ทำหน้าที่ปกป้องรัง
– วรรณะสืบพันธุ์ (ปลวกราชา ปลวกราชินี แมลงเม่า) ทำหน้าที่สืบพันธุ์และวางไข่
วงจรชีวิตของปลวกราชินีจะมีอายุ 1-2 ปี ปลวกงานมีอายุ 2-3 เดือน ปลวกอาศัยอยู่บริเวณที่มีแหล่งอาหารและความชื้นที่เหมาะสม ปลวกส่วนใหญ่จะกินอาหารประเภทเนื้อไม้ เปลือกไม้ เศษไม้ ใบไม้ หรือวัสดุ อื่นๆ ที่มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบ
ความเสียหายจากปลวก
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. สร้างความเสียหายให้กับอาคาร บ้านเรือน และเฟอนิเจอร์ต่างๆ
3. ปนเปื้อนในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ใช้กับดักเหยื่อล่อในกำจัดปลวก
3. ใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดปลวก
จิ้งจก Gecko
ข้อมูลทั่วไป
จิ้งจกเป็นสัตว์เลื่อยคลานที่มีลำตัวขนาดเล็ก สามารถพบได้ตามที่อยู่อาศัย บ้านเรือน และอาคาร มักอยู่ตามซอกมุมต่างๆในที่มืดและสงบ จิ้งจกมักกินแมลงและเศษอาหารต่างๆ
ความเสียหายจากจิ้งจก
1. สร้างความรบกวนภายในบ้านหรืออาคาร
2. ปนเปื้อนในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
3. มูลจิ้งจกทำให้พื้นที่สกปรก
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาจุดเสี่ยง
2. ทำความสะอาดพื้นที่ไม่ให้มีแหล่งอาหาร
3. ใช้กับดักแมลงคลานดักจับจิ้งจก
4. ใช้สารเคมีฉีดพ่นไล่จิ้งจก
หนูนอร์เวย์
(Rattus Norvegicus)
หนูท้องขาว
(Rattus rattus)
หนูหริ่ง
(Mus musculus)
หนูจี๊ด
(Rattus exulans)
ข้อมูลทั่วไป
หนูมีวงจรชีวิตประมาณ 2 ปี ให้ลูกได้ตลอดทั้งชีวิต 6-10 ครอก หนูสามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้ดี สามารถกระโดดปีนป่ายได้อย่างคล่องแคล่ว ชอบอาศัยอยู่ในพื้นที่มืดและเงียบ ฟันของหนูแข็งแรงสามารถแทะเหล็กได้ หนูมักจะอาศัยในบริเวณใกล้บ้านพักอาศัยตามบ้านเรือน หรือขุดรูใต้ดิน อาศัยตามซอกมุมที่ลับตาของอาคาร บนเพดาน หนูสามารถกินอาหารได้หลากหลายชนิด
ร่องรอยของหนู
1. มูลและปัสสาวะ
2. รอยกัดแทะ รอยเท้า รอยทางเดิน
3. เสียงร้องของหนู
ความเสียหาย
1. สร้างความรำคาญและทำให้พื้นที่สกปรก
2. กัดแทะผลิตภัณฑ์ทำให้เกิดความเสียหาย
3. หนูเป็นพาหะนำโรคมาสู่มนุษย์ เช่น โรคฉี่หนู
วิธีป้องกันกำจัด
1. สำรวจพื้นที่และหาร่องรอยการบุกรุกของหนู
2. ทำความสะอาดพื้นที่และจัดของให้เป็นระเบียบ
3. ใช้กับดักกาวหนูเพื่อดักจับหนู
4. ใช้เหยื่อพิษกำจัดหนูนอกรอบอาคาร